วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

Framework Management Leadership




Leadership
Framework  Management  Tool Box   ด้าน  Leading
1.หลักการ/แนวคิด/ประวัติ Leadership 
ชักนำ (การจูงใจ)    พฤติกรรม = การกระทำใดๆที่คนๆนั้นแสดงออกมาให้คนอื่นได้เห็นและรับรู้ถึงความต้องการ 
คำนิยามของผู้นำ  
ผู้นำ(Leader)  บุคคลที่มีลักษณ์และคุณสมบัติที่ทำให้องค์การประสบความสำเร็จ โดยใช้อิทธิพล จูงใจ ให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม  
2. เครื่องมือนี้คือ/มีองค์ประกอบ 
ลักษณะของการเป็นผู้นำ(Leadership Styles)
      ผู้นำแบบเจ้าระเบียบ (Regulative Leader)
     ผู้นำแบบบงการ (Directive Leader)
     ผู้นำแบบจูงใจ (Persuasive Leader)
     ผู้นำแบบร่วมใจ (Participative Leader)
3.   เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร


4.   ข้อดี/   ข้อเสียของเครื่องมือ   Leadership
ข้อดี
1. ความมีพลังและความทะเยอทะยาน (Energy and ambition)
2. ความปรารถนาที่จะนำผู้อื่น (The desire to lead)
3. ความเชื่อมั่นตนเอง (Self-confidence)
4. ความเฉลียวฉลาด (Intelligence)
6. ความรอบรู้ในงาน (Job-relevant knowledge)
ข้อเสีย
1)ยังไม่มีความเป็นสากลที่สอดคล้องกับการเป็นผู้นำได้ดีในทุกสถานการณ์
2) คุณลักษณะของผู้นำมักใช้ได้กับสถานการณ์ที่ขาดความชัดเจน
3) ยังขาดความชัดเจนในแง่ความเป็นเหตุและผลต่อกัน เช่นผู้นำมีความเชื่อมั่นตนเองมาก่อน
4) คุณลักษณะน่าจะเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความเป็นผู้นำได้มากกว่าที่จะ ใช้แยกคนเป็นผู้นำออกจากคนที่ไม่ใช่ผู้นำ
5ภาวะผู้นำใช้อย่างไร   
1.             มีเครื่องมือในการกำหนดวิสัยทัศน์ และการเปลี่ยนแปลง และนำ จะคงสภาพการจัดการ และรูปแบบองค์การ
2.             ขบวนการจัดการประกอบไปด้วยแมนของการทำงาน องค์กร และการควบคุม
3.              แผนงานจะเป็นรายละเอียดของวัตถุประสงค์และแผนที่จะทำให้บรรลุความสำเร็จ
4.              การจัดโครงสร้างองค์กรเพื่อเป็นตามความต้องการของผู้จัดการ
5.             มีการควบคุม ติดตาม ปฏิบัติตามแผน และนำข้อขัดแย้งมาแก้ไข
6.              รูปแบบแผนงานการจัด การ จัดองค์การ และการควบคุม จะสองดคล้องกับพฤติกรรม
7.              ผู้จัดการทำทุกสิ่งๆ
8.              เป้าหมายต้องมีความมั่นคง การควบคุม การแข่งขัน
9.              มองการระยะสั้น หลีกเลี่ยงความเสี่ยง  และอนุรักษ์ รูปแบบเดิม
6.   ภาวะนำ
1.               มีการแสดงความคิดเห็นและวิสัยทัศน์ ขององค์กรมีการแนะนำและจัดการการเปลี่ยนแปลงองค์กรมีกระตุ้นเพื่อให้เกิดแรงกดดันเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
2.               เป้าหมายจะเกี่ยวข้องกับคน ภาวะผู้นำด้านการจัดการจะเน้นไปด้านปฏิบัติงาน
3.                กำหนดทิศทางในการพัฒนาวิสัยทัศน์และกลยุทธ์
4.               เป็นผู้นำด้านการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ อนุญาตให้พนักงานทำงานตามแนวทางของตนเอง  แต่สอดคล้องกับพันธ์กิจ
5.                มีการสร้างแรงกระตุ้น แรงบันดาลใจ ของพนักงาน เพื่อจะนำสู่ความสำเร็จ
6.                มีการนำวิธีการใหม่ ๆ เข้ามาทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่ไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้
7.                ผู้นำทำในสิ่งที่ถูกต้อง
8.               เป้าหมายสามารถเปลี่ยนแปลงได้มีการให้อำนาจในการทำงานร่วมกัน และมีความหลากหลาย
9.               มองการระยะยาว ชอบเสี่ยง   ชอบเปลี่ยนแปลง  และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้
7.กรณีศึกษา ภาวะผู้นำ : กรณีศึกษา บริษัท ลินฟ้อกซ์ (ประเทศไทย) จำกัด
 Leadership: A Case Study of Linfox (Thailand) Company Limited
  โดย นิภาพร เจนกิจพาณิชย์กุล   
ผลการประเมินภาวะผู้นำในปัจจุบันเป็นภาวะผู้นำแบบเผด็จการอย่างมีศิลป์ ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นต่อแบบภาวะผู้นำ ทั้ง 7 เรียงตามลำดับได้ดังนี้ ลักษณะของกระบวนการควบคุม ลักษณะของกระบวนการสื่อสาร ลักษณะการใช้กระบวนการผู้นำ ลักษณะของการกำหนดเป้าหมายการทำงานหรือการออกคำสั่ง ลักษณะของกระบวนการตัดสินใจ ลักษณะของกระบวนปฏิสัมพันธ์ซึ่งมีอิทธิต่อกัน ลักษณะของแรงจูงใจ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจในการทำงาน ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง

สวัสดีคะ เพื่อนที่สนใจเกี่ยวกับเนื้อหา วิชา ทฤษฎีชั้นสูงเพื่อการจัดการ เราได้แนะนำ Framework ให้เพื่อนได้รู้จักนะคะ ในวันนี้  คือ
  วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์(Product Li fe Cycle) Framework Management Tool Box ด้าน Planning

 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ • แนวคิดเกี่ยวกับวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์เป็นความพยายามในการอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างยอดขาย กำไร ลูกค้า และคู่แข่งขัน ตลอดระยะเวลาของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์นั้น ความรู้และความเข้าใจในลักษณะของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ของนักการตลาด จะช่วยให้กิจการสามารถพัฒนาส่วนประสมการตลาดได้ถูกต้อง 
2. เครื่องมือนี้คือ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์(PLC) เป็นประวัติการเจริญเติบโตของยอดขาย และกำไรของผลิตภัณฑ์ องค์ประกอบ ของ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์(PLC) • ขั้นแนะนำ(Introduction) • ขั้นเจริญเติบโต(Growth) • ขั้นอิ่มตัว หรือเติบโตเต็มที่(Maturity) • ขั้นถดถอย(Decline) • วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์




  3. เครื่องมือใช้เพื่ออะไร
เป็นที่มีประโยชน์ทางด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ อย่างมาก เพื่อจะช่วยให้ผู้บริหารมอง  ยอดขาย ของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การนำผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การนำผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ นำผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย  เข้าสู่ ขั้นเจริญเติบโต   ข้นเจริญเติบโตเต็มที่ จนกระทั้งถึงขั้นตกต่ำ
4. ข้อดี-ข้อเสีย
ข้อดี
                ช่วยให้นักการตลาดจะต้องวางแผนการตลาดและการสื่อสารการตลาดอย่างดีที่สุดเพื่อไม่ให้ผลิตภัณฑ์ของตนต้องลงไปอยู่ในช่วงของขั้นตกต่ำ อันจะนำความเสียหายมาสู่กิจการได้
ข้อเสีย
                คือ ผลิตภัณฑ์ อาจเกิดความไม่แน่นอนเสมอไปที่ผลิตภัณฑ์ทุกอย่างจะต้องมีจุดจบตามช่วงวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์เสมอไป บางครั้งผลิตภัณฑ์บางอย่างสามารถเริ่มต้นใหม่ด้วยการหาตำแหน่งใหม่ได้นั่นก็คือ อยู่ที่กลยุทธ์ของแต่ละกิจการในการรักษาตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ของตนเอาไว้ให้คงอยู่ในระดับช่วงเวลาที่สูงสุดของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ได้ตลอดไป




 6. กรณีศึกษา  :  The Pizza
อยู่ใน Product life cycle (PLC) ช่วงอิ่มตัว  หรือเจริญเติบโตเต็มที่  พิจารณาจาก  ยอดขายเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง  ความต้องการของผู้บริโภคเริ่มอิ่มตัว  ดูจากตลาดรวมในกรณีศึกษาได้บอกไว้ว่า  เริ่มถึงจุดอิ่มตัว  ยอดขายจะสูงสุดในขั้นนี้    แต่เนื่องจากเดอะพิซซ่า มีการปรับปรุงโดยใช้กลยุทธทางการตลาด ทั้ง การพัฒนาผลิตภัณท์ ( Product Modified   และ การพัฒนาตลาด (Market  Development ) ทำให้สามารถสร้างยอดขายได้อย่างต่อเนื่อง เป็นการยืดอายุผลิตภัณท์ 






เพื่อนที่ได้รับความสนใจเนื้อหา เกี่ยวกับ กลยุทธ์ต่าง   วันนี้จะได้มาอธิบายเกี่ยวกับ ความยืดหยุ่น เกี่ยวกัยการวางแผนกลยุทธ์ และ ประสิทธิภาพของการดำเินินงาน  และวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ

       โดยความยืดหยุ่นที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนกลยุทธ์และคามสัมพันธ์ประสิทธิภาพขององค์กรแบ่งออกเป็น ประเภทคือ

        1. ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน ( Operational Flexibility) หมายถึง ความสามารถขององค์กรในการปรับตัวได้เร็วต่อข้อเสนอของตลาด ส่วนประสมของสินค้าหรือบริการ และกำลังการผลิตสินค้า 
        2. ความยืดหยุ่นทางด้านการเงิน (Financial Flexibility) ความสามารถขององค์กรในการปรับตัวเพื่อเข้าถึงและเตรียมพร้อมกับทรัพยากรทางการเงิน
        3. ความยืดหยุ่นในโครงสร้างองค์กร (Structural Flexibility) หมายถึง ความสามารถขององค์กรในการปรับตัวเพื่อการปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กร
        4. ความยืดหยุ่นของเทคโนโลยี (Technological Flexibility) หมายถึง ความสามารถในการเลือกเทคโนโลยีการผลิตของสายผลิตภัณฑ์กับความต้องการในภาวการณ์แข่งขัน 
       ซึ่งจากความยืดหยุ่นที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างการวางแผนกลยุทธ์แและประสิทธิภาพขององค์กรนั้น  สามารถแบ่งออกเป็น  ส่วน คือ
      1) ประสิทธิภาพทางการเงิน (Financial performance) ประกอบด้วยความยืดหยุ่นในการดำเนินงาน (Operational flexibility) และความยืดหยุ่นทางการเงิน (Financial flexibility) 
        2) ประสิทธิภาพที่ไม่ใช่สถาบันทางการเงิน (Non-financial performance) ประกอบด้วยความยืดหยุ่นทางด้านโครงสร้าง (Structural flexibility) และความยืดหยุ่นทางเทคโนโลยี (Technological flexibility)

 การวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณ

  เมทริกซ์การวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณคือวิธีการจัดการเชิงกลยุทธ์ขั้นสูงเพื่อใช้ในการการประเมินกลยุทธ์ที่เลือกมานั้นว่าเหมาะสมแค่ไหน โดยจะอาศัยข้อมูลเดิมที่วิเคราะห์ไว้ก่อนหน้านี้  
      วิธีการ ของ QSPM  ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ซึ่งเป็นกลยุทธ์การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ เมทริกซ์การวางแผนกลยุทธ์เชิงปริมาณหรือ QSPM ให้วิธีการวิเคราะห์สำหรับการเปรียบเทียบการกระทำทางเลือกที่เป็นไปได้วิธีการ QSPM อยู่ภายในขั้นตอน ขั้นตอน ของการกำหนดกรอบการวิเคราะห์กลยุทธ์

ขั้นตอนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์การจัดการกลยุทธ์โดยรวมทั้งหมดขององค์ โดยการระบุปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ภาพแวดล้อมภายนอกและภายในองค์กรนั้นเองและจะได้ออกมาเป็นในรูปของเมทริกซ์การประเมินภาพแวดล้อมภายนอก(EFE) ,เมทริกซ์รายละเอียดของการแข่งขัน(CPM) เป็นการเปรียบเทียบปัจจัยในการแข่งขันกับคู่แข่ง  และเมทริกซ์กระประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (IFE) เพื่อดูตำแหน่งในการกำหนดกลยุทธ์

ขั้นตอนที่ 2   หลังจากที่ระบุและวิเคราะห์ปัจจัยกลยุทธ์ที่สำคัญเป็นปัจจัยนำเข้าสำหรับ QSPM  เราสามารถกำหนดประเภทกลยุทธ์ตามที่ต้องการอยากจะกำหนด ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือการบริหารกลยุทธ์จากขั้นที่ 2โดยการจับคู่ (Comparison stage) ซึ่งประกอบด้วย 
- SWOT Analysis ( or TOWS)   เป็นเครื่องมือนำทางองค์กรไปสู่การกำหนดกลยุทธ์ในระดับองค์ โดยใช้หลักการในการจับคู่ประเด็นต่างๆเข้าด้วยกัน ทำไมถึงมีการจับคู่  เพราะว่า SWOT มีปัจจัยหลัก ตัวด้วยกันคือ Strengths (S),  Weaknesses (W) ,Opportunities(O) และ Threats (T),
SPACE Matrix   เป็นเทคนิคในสร้างทางเลือกในการกาหนดกลยุทธ์ที่ผู้วิเคราะห์ต้องการให้ความสาคัญต่อสถานการณ์ทางการเงิน การได้เปรียบทางการแข่งขัน ความสามารถของธุรกิจในอุตสาหกรรมและความมั่นคงของสภาพแวดล้อม
- BCG Matrix   ผู้คิดค้นคือกลุ่มบริษัทที่ปรึกษาที่ชื่อว่า บอสตัน คอนซัลติ้ง กรู๊ป สำหรับชื่อ BCG นี้ก็ย่อมาจากชื่อของบริษัท ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงต้นๆ ของทศวรรษ 1970  มีลักษณะการใช้ง่ายไม่ยุ่งยาก และมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถตัดสินใจและมองเห็นส่วนของธุรกิจตนเองว่า ส่วนไหนสามารถทำรายได้ให้กับองค์กร และควรจะทุ่มเททรัพยากรลงไปตรงไหนดีถึงจะคุ้มค่าและให้องค์กรมีการเติบโตอย่างยั้งยืน 
- IE Matrix  เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Grand strategy matrix  เป็นแมททริกซ์ความดึงดูดทางอุตสาหกรรม-จุดแข็งของธุรกิจ (Industry attractiveness- business strength matrix) เป็นวิธีการที่ General electric ได้คิดค้น       ในบางครั้งเรียก GE matrix  ซึ่งพิจารณาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อธุรกิจภายนอก (Critical external factors : CEF) ซึ่งเป็นสิ่งที่ธุรกิจควบคุมไม่ได้ และปัจจัยภายในที่ธุรกิจควรดาเนินการเพื่อที่จะทาให้ธุรกิจประสบผลสาเร็จ(Critical success factors : CSF)
          ส่วนของ BCG และ IE ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อที่จะตอบสนองต่อองค์การที่มีการดำเนินงานในหลายด้านหรือหลายธุรกิจ โดย BCG จะเน้นในสองมิติ กล่าวคือ มิติของส่วนแบ่งการตลาดสัมพันธ์ (RelativeMarket Share Position)และอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม(Industry Growth Rate )    (ผศ.ดร.วรางคณา ผลประเสริฐ)